Background Image

DE-SIGN Laboratory

Study, research and practice in the media design context related to design history, communication, media planning

ตรรกวิทยาแฟชั่นมีอิทธิพลต่อการจัดการความสัมพันธ์เชิงอำนาจในสังคมจากชนชั้นบนสู่ชนชั้นล่าง ดังนั้น เขาเสนอว่าเราสามารถเข้าใจปรัชญาแฟชั่นผ่านประเด็นศีลธรรม การเมือง และศาสนา ในสังคม แฟชั่นคืออัตลักษณ์ของปัจเจกชนและกลุ่มคน กล่าวได้ว่าสังคมปัจจุบัน ต้องการอัตลักษณ์ ตัวตน และศักดิ์ศรีในสังคม ดังนั้นแฟชั่นจึงถือเป็นเครื่องมือการแสดงความเป็นปัจเจกชนเชิงมนุษยนิยม


DE-SIGN Laboratory project

สกินเฮด เดรสเหลือง

มาตรฐานจริยธรรมระหว่างความเชื่อกับการสื่อสารการตลาด

Racist AHH

การเหยียดสีผิวในสื่อสังคมออนไลน์

อภินิหาร มาร์เก็ตติ้ง

ความเชื่อ วัตถุมงคล และกระบวนการกลายเป็นตลาด

S(cen) tory

กลิ่น...กับการผลิตเชิงวัฒนธรรม

Body Rose

กระบวนการออกแบบชุดปรับสรีระสาวประเภทสองเพื่อการสร้างแบรนด์

Ambient advertising on media websites and strategies of ambient on indie

โฆษณาแฝงในวัฒนธรรมสื่อใหม่ กรณีศึกษาสื่อเว็บไซต์วงการดนตรีนอกกระแส (2เล่ม)

KHON Intangible Heritage

โขน วัฒนธรรมแช่แข็ง

Bling Bling Gold

กระบวนการออกแบบในอุตสาหกรรมทองคำเพื่อการสร้างแบรนด์

Vibe of Retaliation

กระบวนการสื่อสารทางการเมืองในยุคนิวมีเดีย

Lolita World

วัฒนธรรมโลลิต้าและปัจจัยที่ทำให้สาวกโลลิต้าในประเทศไทย เลือกสร้างภาพตัวแทนผ่านการแต่งกายในรูปแบบของแฟชั่นโลลิต้า

The overlap of Identities

อิทธิพลของสื่อที่ส่งผลต่อกลุ่มคนที่แต่งหน้าในชีวิตประจำวัน

Spring/Summer 2019

การสื่อสารและสร้างสัญญะผ่านภาพยนตร์โฆษณาแฟชั่น

On Trend

Trend fashion and the government’s promotion for private firm

NONE

The idea of designers as entrepreneur of a streetwear brand

BIG.G

การวิเคราะห์วารสารส่งเสริมพฤติกรรมการบริโภคธัญพืชและอาหารเพื่อสุขภาพ

The color view(wheel)

แนวทางการใช้สี เพื่อการสร้างอัตลักษณ์ของแบรนด์

Typology#2

แนวคิดการออกแบบสื่อตัวอักษรของนักออกแบบไทยเพื่อสร้างอัตลักษณ์แบรนด์องค์กร

Lo(w)cal area

การออกแบบสื่อเพื่อส่งเสริมการตลาดกรณีศึกษาหาบเร่-แผงลอยย่านหลังมหาวิทยาลัยเชียงใหม่และไนท์บาซาร์

Arrainaj #thesewoffestival

การเปลี่ยนแปลงความหมายทางวัฒนธรรม ภายใต้แนวคิดการตลาดพื้นที่ กรณีศึกษาเทศกาลกินเจ จังหวัดภูเก็ต

Old School VS Modern of Tourism

การออกแบบสารสนเทศเพื่อตอบสนองอุตสาหกรรมท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม กรณีศึกษาจังหวัดน่าน

when culture as cultural commodity

การบริโภคชาญี่ปุ่นในบริบทสินค้าทางวัฒนธรรม

dig a little deeper

กลยุทธ์การสื่อสารเพื่อต่อรองเชิงอำนาจของกลุ่มดนตรีนอกกระแส

The Imitation of the virtual world

การนำเสนอสินค้าบนเว็บไซต์พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์เพื่อการค้าปลีก

The Princess Number 2

การวิเคราะห์ตัวละครผู้หญิงในภาพยนตร์อนิเมชั่นผ่านมุมมองสตรีนิยม

The Culture of gay in Chiang Mai

การสร้างอัตลักษณ์และกลยุทธ์การสื่อสารภาพลักษณ์ของชุมชนเกย์เชียงใหม่

Spirit House

การออกแบบแอปพลิเคชันธุรกิจบริการด้านความเชื่อ

Daily Gov

วาทกรรมทางการเมืองเชิงสัญลักษณ์กรณีศึกษา: ประวัติศาสตร์วิกฤตการณ์ทางการเมืองระหว่างปี พ.ศ. 2548-2554

RE.I.Y

การศึกษาปรากฏการณ์ทางวัฒนธรรมดีไอวายในสังคมไทยเพื่อวิเคราะห์และวางแผนธุรกิจดีไอวายรูปแบบใหม่

They are the future of food

การสร้างแบรนด์เพื่อการบริโภคแมลง

บาดลึก หมายเลข 2

ความรุนแรงของภาพยนตร์แนวระทึกขวัญที่มีผลกระทบต่อเยาวชน

The Reflection

อินสตาแกรม กับ การสร้างภาพลักษณ์

The Imitation

พฤติกรรมการเลียนแบบของวัยรุ่นสตรีไทยจากสื่อนิตยสารชีช

The Consumption of Meaning

การบริโภคเชิงสัญญะในบริบทร้านอาหารเชิงวัฒนธรรมเกาหลี